สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 8
"Regional Bureau of Animal Health and Sanition 8"
อำนาจหน้าที่
1. ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนางานด้านสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัย การควบคุมป้องกันและ
บำบัดโรคสัตว์ การชันสูตรโรคสัตว์และโรคระบาดวิทยาทางสัตวแพทย์ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ
2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อพัฒนางานด้านผลผลิตสัตว์อาหารสัตว์
สุขภาพสัตว์และสุขอนามัยในพื้นที่ที่รับผิดชอบ
3. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนางานด้านมาตรฐานและตรวจสอบคุณภาพสิ้นค้าปศุสตว์และ
ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับการปศุสัตว์ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ
4. เป็นแหล่งสาธิตและพัฒนาการปศุสัตว์
5. ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดทำแผนปฏิบัติงานด้านสุขศาสตร์และสุขอนามัย การติดตามประเมิน
ผลการปฏิบัติงานให้คำปรึกษาแนะนำและควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปตามกฎหมาย
ว่าด้วยโรคระบาดสัตว์ กฎหมายว่าด้วยการบำรุงพันธุ์สัตว์ กฎหมายว่าด้วยการควบคุม
คุณภาพอาหารสัตว์ กฎหมายว่าด้วยสถาน พยาบาลสัตว์ กฎหมายว่าด้วยโรคพิษสุนัขบ้า
กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดในพื้นที่เกี่ยวข้อง
6. ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับมอบหมาย
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป 1. ดำเนินงานเกี่ยวกับงานบริหารทั่วไป งานสารบรรณและงานธุรการ
มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
2. ดำเนินงานเกี่ยวกับงานด้านการเงิน การบัญชี วัสดุ ครุภัณฑ์ การบริหารงานบุคคลงานติต่อประสานงาน
และ งานสถิติข้อมูล สารสนเทศและประชาสัมพันธ์
3. ดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดทำแผนงาน งบประมาณ และแร่งรัดติดตามประเมินผล
การปฏิบัติงานของสำนักงาน
4. เร่งรัด ติดตาม วิเคราะห์และประเมินผล ของโครงการต่างๆ ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติและรับผิดชอบ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ พระราชเสาวนีย์ และโครงการพิเศษอื่น
ส่วนป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ |
1. ศึกษา วิเคราะห์ ด้านสุขศาสตร์สัตว์ การควบคุมป้องกัน และบำบัดโรคสัตว์ |
ส่วนศึกษาและพัฒนาการปศุสัตว์ 1. ศึกษา วิเคราะห์ ประยุกต์เกี่ยวกับการกำหนดเขต เศรษฐกิจการปศุสัตว์และระบบการจัดการฟาร์ม
มีอำนาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
พันธุ์สัตว์ อาหารสัตว์ สุขภาพสัตว์สินค้าปศุสัตว์รวมทั้งต้นทุนการผลิตและการตลาดที่เหมาะสม
ในพื้นที่รับผิดชอบ
2. ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนา และสาธิต การถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลิตสัตว์และ
การจัดการสุขภาพสัตว์ที่เหมาะสม ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ
3. ดำเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยีและให้คำปรึกษาแนะนำด้านการผลิตปศุสัตว์และสินค้าปศุสัตว์
ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
4. ดำเนินการพัฒนาบุคคลากรในพื้นที่รับผิดชอบ
ส่วนการรับรองคุณภาพสินค้าปศุสตว์ |
1. ศึกษา วิเคราะห์จัดทำแผนงานการปฏิบัติงานด้านสุขอนามัยสินค้าจากการปศกุสัตว์รวมทั้งการตรวจ |